- สมัคร Gmail
- สร้าง Blogspot
- เรียนรู้เรื่อง IQ,EQ,AQ,TQ,MQ
1) IQ (Intelligence Quotient ) การพัฒนาให้ผู้เรียน ทักษะกรบวนการคิด กระบวนการเรียนรู้ มีความเฉลียวฉลาดขึ้น ใฝ่หาความรู้อย่างต่อเนื่อง
2) EQ (Emotion Quatient) การพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเองและมีความมั่นคงทางอารมณ์
3)TQ (Technology Quotient) การพัฒนาความคล่องแคล่วในการใช้เทคโนโลยีและรู้จักเลือกใช้เทคโนโลยีต่าง ๆให้เหมาะสมกับความต้องการ
4) AQ (Adversity Quotient) การพัฒนาทักษะการแก้ไขปัญหาที่ไม่เคยพบมาก่อนและการเผชิญสภาพปัญหาที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนสามารถปรับตัวทันต่อการเปลี่ยนแปลงและทำงานภายใต้สภาวะความกดดันได้
5) MQ(Morality Quotient) ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมให้ผู้เรียนมีจิตใจงดงาม รู้จักขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีและอยู่ในสังคม ความรู้ (Knowledge -based sociaty ) ได้เป็นอย่างดี
- สอบก่อนเรียน.
-------------------------------------------------------
สัปดาห์ ที่ 2 วันที่ 21/10/2009
- นั่งฟังอย่างตั้งใจ จนหลับสบาย
- เรียนรู้เทคโนโลยี 3G
- ascii code
-------------------------------------------------------
สัปดาห์ ที่ 3 วันที่ 28/10/2009
- สอบก่อนเรียน หลังเรียน
- นั่งฟัง
- สอนการทำ Blog
- ทำใบงาน
- นั่งหลับ
-------------------------------------------------------
สัปดาห์ ที่ 4 วันที่ 4/11/2009
- นั่งฟัง
- สอนการทำ Blog
- ทำใบงาน
-------------------------------------------------------
สัปดาห์ ที่ 5 วันที่ 11/11/2009
- สอบก่อนเรียนบทที่3
- เรียนเรื่องการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา
- ทำใ
- สอบก่อนเรียนบทที่3
- เรียนเรื่องการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา
- ทำใ
บงาน
-------------------------------------------------------
-------------------------------------------------------
สัปดาห์ ที่ 6 วันที่ 18/11/2009
- เรียนการใช้โปรแกรม Turbo C++
- สอบปฏิบัติการใช้โปรแกรม Turbo C++
- ทำใบงาน
-------------------------------------------------------
สัปดาห์ ที่ 7 วันที่ 25/11/2009
- เรียนการเขียนผังงานประเภท 2 ทางเลือก และวนซ้ำ
- ทำใบงาน
-------------------------------------------------------
สัปดาห์ ที่ 8 วันที่ 2/12/2009
- สอบหลังเรียนบทที่ 2
- สอบก่อนเรียนบทที่ 4
- ศึกษา
เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา C
- การบ้าน คำทักทายภาษาต่างๆและภาษาของคอมพิวเตอร์
คำทักทายในภาษาต่างๆ 10 ภาษา
1. ภาษา เวียดนาม
สวัสดี Xin chao ซินจ่าว
ขอบคุณ Com on ก่าม เอิน
ขอโทษ Xin loi ซินโหลย
กรุณา
Xin moi ซินเหม่ย
ลาก่อน Tam biet ตาม เบียด
2.ภาษา ตากาลอก
สวัสดี Kumusta กูมุสตา
ขอบคุณ Salamat ซาลามัต
ขอโทษ Paumanhin ปะ อุมันฮิน
กรุณา Pakisuyo ปากีซูโย่
ลาก่อน Paalam ปาอาลัม
3.ภาษา สเปน
สวัสดี
ลาก่อน Tam biet ตาม เบียด
2.ภาษา ตากาลอก
สวัสดี Kumusta กูมุสตา
ขอบคุณ Salamat ซาลามัต
ขอโทษ Paumanhin ปะ อุมันฮิน
กรุณา Pakisuyo ปากีซูโย่
ลาก่อน Paalam ปาอาลัม
3.ภาษา สเปน
สวัสดี
Hola โอล่า
ขอบคุณ Gracias กราเซียส
ขอโทษ Lo siento โล เซียนโต
กรุณา Por favor ปอร์ ฟาบอร์
ลาก่อน Adios อาดิโอส
4.ภาษา เยอรมัน
สวัสดี Hallo ฮาโหล
ขอบคุณ Danke ดังเคอะ
ขอโทษ E
ขอบคุณ Gracias กราเซียส
ขอโทษ Lo siento โล เซียนโต
กรุณา Por favor ปอร์ ฟาบอร์
ลาก่อน Adios อาดิโอส
4.ภาษา เยอรมัน
สวัสดี Hallo ฮาโหล
ขอบคุณ Danke ดังเคอะ
ขอโทษ E
ntschuldigung เอน ชู้ตด ิ กุ้ง
กรุณา Bitte บิต เทอะ
ลาก่อน Schuss ชู้ส
5.ภาษาอิตาเลียน
สวัสดี Buon giorno บวน จอรโน
ขอบคุณ Grazie กราท ซีเย
ขอโทษ Mi dispiace มิ ดิสเปียอา เช่
กรุณา
กรุณา Bitte บิต เทอะ
ลาก่อน Schuss ชู้ส
5.ภาษาอิตาเลียน
สวัสดี Buon giorno บวน จอรโน
ขอบคุณ Grazie กราท ซีเย
ขอโทษ Mi dispiace มิ ดิสเปียอา เช่
กรุณา
Per favore แปร ฟา วอ เร
ลาก่อน Ciao เชา
6.ภาษาจีน
สวัสดี Ni hao หนีห่าว
ขอบคุณ Xie xie เซียเซี้ย
ขอโทษ Dui bu qi ตุ้ย ปู้ ฉี่
กรุณา Qing ฉิง
ลาก่อน Zai jian ไจ้เจี้ยน
7.ภาษาภาษาฝรั่งเศส
สวัสดี Bonjour บง ชูร์
ขอบคุณ Merci แม้ค ซี่
ขอโทษ Pardon ปาร์ค ดอง
กรุณา S'll vous plait ซิล วู เปล
ลาก่อน Au revoir โอ เครอะ วัว
8.ภาษาญี่ปุ่น
สวัสดีตอนเช้า Ohayou gosaimasu โอะไฮโย โกไซมัส
ขอบคุณ Arigatou gozaimashita อาริงาโตะ โกไซมัส
ขอโทษ G
ลาก่อน Ciao เชา
6.ภาษาจีน
สวัสดี Ni hao หนีห่าว
ขอบคุณ Xie xie เซียเซี้ย
ขอโทษ Dui bu qi ตุ้ย ปู้ ฉี่
กรุณา Qing ฉิง
ลาก่อน Zai jian ไจ้เจี้ยน
7.ภาษาภาษาฝรั่งเศส
สวัสดี Bonjour บง ชูร์
ขอบคุณ Merci แม้ค ซี่
ขอโทษ Pardon ปาร์ค ดอง
กรุณา S'll vous plait ซิล วู เปล
ลาก่อน Au revoir โอ เครอะ วัว
8.ภาษาญี่ปุ่น
สวัสดีตอนเช้า Ohayou gosaimasu โอะไฮโย โกไซมัส
ขอบคุณ Arigatou gozaimashita อาริงาโตะ โกไซมัส
ขอโทษ G
omen nasai โกะเมน นะไซ
กรุณา Douzo โด โชะ
ลาก่อน Sayonara ซาโยนาระ
9.ภาษาดัตช์
สวัสดี Goedendag คูเดิ้นด๊าค
ขอบคุณ Dan ku wel ดั้ง กู เวล
ขอโทษ Pardon ปาร์ดอง
กรุณา Ais tu blieft อัลส์ตูบลีฟท์
ลาก่อน Tot ziens ต๊อทซีนส์
10.ภาษามาเลย์
สวัสดี Salamat Datang ซาลามัต ดาตัง
ขอบคุณ Terima kasih เทริมา กาสิ
ขอโทษ Maaf อาอาฟ
กรุณา Sila ซิลา
ลาก่อน Salamat jalan
ภาษาคอมพิวเตอร์และความเหมาะสมในการใช้งานของแต่ละภาษา
+BASI
กรุณา Douzo โด โชะ
ลาก่อน Sayonara ซาโยนาระ
9.ภาษาดัตช์
สวัสดี Goedendag คูเดิ้นด๊าค
ขอบคุณ Dan ku wel ดั้ง กู เวล
ขอโทษ Pardon ปาร์ดอง
กรุณา Ais tu blieft อัลส์ตูบลีฟท์
ลาก่อน Tot ziens ต๊อทซีนส์
10.ภาษามาเลย์
สวัสดี Salamat Datang ซาลามัต ดาตัง
ขอบคุณ Terima kasih เทริมา กาสิ
ขอโทษ Maaf อาอาฟ
กรุณา Sila ซิลา
ลาก่อน Salamat jalan
ภาษาคอมพิวเตอร์และความเหมาะสมในการใช้งานของแต่ละภาษา
+BASI
C (Beginner's All-purpose Symbolic Instruction Code) สำหรับผู้เริ่มศึกษาการเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์
+COBOL (Common Business Oriented Language) นิยมใช้ในงานธุรกิจบนเครื่องขนาดใหญ่
+FORTRAN (FORmula TRANslator) ใช้สำหรับงานด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์
+Pascal (ชื่อของ Blaise Pascal) ใช้ในวิทยาลัย และมหาวิทยาลัย
+C สำหรับนักเขียนโปรแกรม และใช้ในวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
+C++ สำหรับผู้ผลิตซอฟต์แวร์
+ALGOL (ALGOrithmic Language) เริ่มต้นได้รับการออกแบบให้เป็นภาษาสำหรับงานทางวิทยาศ
+COBOL (Common Business Oriented Language) นิยมใช้ในงานธุรกิจบนเครื่องขนาดใหญ่
+FORTRAN (FORmula TRANslator) ใช้สำหรับงานด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์
+Pascal (ชื่อของ Blaise Pascal) ใช้ในวิทยาลัย และมหาวิทยาลัย
+C สำหรับนักเขียนโปรแกรม และใช้ในวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
+C++ สำหรับผู้ผลิตซอฟต์แวร์
+ALGOL (ALGOrithmic Language) เริ่มต้นได้รับการออกแบบให้เป็นภาษาสำหรับงานทางวิทยาศ
าสตร์ และต่อมามีการพัฒนาต่อเป็นภาษา PL/I และ Pascal
+APL (A Programming Language) ออกแบบโดยบริษัท IBM ในปีค.ศ. 1968 เป็นภาษาที่โต้ตอบกับผู้ใช้ทันที เหมาะสำหรับจัดการกับกลุ่มของข้อมูลที่สัมพันธ์กันในรูปแบบตาราง
+LISP (LIST Processing) ถูกออกแบบมาให้ใช้กับข้อมูลที่ไม่ใช้ตัวเลข ซึ่งอาจเป็นสัญลักษณ์พิเศษหรือตัวอักษรก็ได้ นิยมใช้ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (Artifical Inelligence)
+LOGO นิยมใช้ในโรงเรียน เพื่อสอนทักษะการแก้ปัญหาให้กับนักเรียน
+PL/I (Programming Language One) ถูกออกแบบมาให้ใช้กับงานทั้งทางด้านวิทยาศาสตร์ และธุรกิจ
+PROLOG (PROgramming LOGIC) นิยมใช้มากในงานด้านปัญญาประดิษฐ์ จัดเป็นภาษาธรรมชา
+APL (A Programming Language) ออกแบบโดยบริษัท IBM ในปีค.ศ. 1968 เป็นภาษาที่โต้ตอบกับผู้ใช้ทันที เหมาะสำหรับจัดการกับกลุ่มของข้อมูลที่สัมพันธ์กันในรูปแบบตาราง
+LISP (LIST Processing) ถูกออกแบบมาให้ใช้กับข้อมูลที่ไม่ใช้ตัวเลข ซึ่งอาจเป็นสัญลักษณ์พิเศษหรือตัวอักษรก็ได้ นิยมใช้ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (Artifical Inelligence)
+LOGO นิยมใช้ในโรงเรียน เพื่อสอนทักษะการแก้ปัญหาให้กับนักเรียน
+PL/I (Programming Language One) ถูกออกแบบมาให้ใช้กับงานทั้งทางด้านวิทยาศาสตร์ และธุรกิจ
+PROLOG (PROgramming LOGIC) นิยมใช้มากในงานด้านปัญญาประดิษฐ์ จัดเป็นภาษาธรรมชา
ติภาษาหนึ่ง
+RPG (Report Program Generator) ถูกออกแบบมาให้ใช้กับงานทางธุรกิจ จะมีคุณสมบัติในการสร้างโปรแกรมสำหรับพิมพ์รายงานที่ยืดหยุ่นมาก
+RPG (Report Program Generator) ถูกออกแบบมาให้ใช้กับงานทางธุรกิจ จะมีคุณสมบัติในการสร้างโปรแกรมสำหรับพิมพ์รายงานที่ยืดหยุ่นมาก
-------------------------------------------------------
สัปดาห์ ที่ 9 วันที่ 9/12/2009
-ตรวจ
สอบแก้ไขใบงานบทที่2
-สอบ การ ใช้ โปรแกรม C++ โดยการเขียนชื่อตัว เอ
-------------------------------------------------------
สัปดาห์ ที่ 10 วันที่ 16/12/2009
-ทำใบงานบทที่3
-เรียนบทที่ 4
-ทำใบงานบทที่ 4 ข้อที่1-4
-เรียนบทที่ 4
-ทำใบงานบทที่ 4 ข้อที่1-4
--------
-----------------------------------------------
สัปดาห์ ที่ 11 วันที่ 23/12/2009
-------------------------------------------------------
ตรัส ก้ม ตบ เพี้ย!!!
ตอบลบกระมู้กาก
ปิดสัส
กรุณาเปลี่ยนแผ่นรองเม้าส์
ตอบลบก๊อบกรุบ้านบึ้ม
ตอบลบ